วันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง


บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
          ในปัจจุบันการออกกำลังกายของคนในประเทศไทยมีอัตราการออกกำลังกายลดน้อยลง การไม่ค่อยออกกำลังกายมีผลสียหลายๆอย่างตามมา เช่น กล้ามเนื่อส่วนต่างๆตึง เกิดโรคอ้วน โรคความดัน โรคหอบหืด ผู้จัดทำจึงเล็งเห็นความสำคัญของการอกกกกำลังกาย  ในโครงงานนี้ได้มุ่งเน้นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา ดังนั้นผู้จัดทำต้องการที่จะศึกษาวิธีการทำเครื่องมือที่ช่วยทำให้กลามเนื้อคลายตัว
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
          1.เพื่อศึกษาวิธีการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง
          2.เพื่อฝึกความสามารถด้านงานฝีมือ
         3.เพื่อฝึกการทำโครงงานเดี่ยว
สมมุติฐาน
          1.สามารถศึกษาวิธีการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง
          2.สามารถรู้ขั้นตอนการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง
        



ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
          1.ไปศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิธีการทำว่ามีขั้นตอนการผลิตเป็นอย่างไร ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2556
           2.ไปสอบถามผู้รู้ในเรื่องขั้นตอนและวิธีการทำเครื่องยืดกล้ามเนื่อน่อง ในวันที่ 1 มิถุนายน 2556





บทที่ 2
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
             ผศ.พญ.นวพร  ชัชวาลพาณิชย์ และคณะ ได้ทำวิจัยและคิดค้น อุปกรณ์ยืดกล้ามเนื้อน่อง”  (Calf Stretching Box) ซึ่งเป็นนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถช่วยคลายกล้ามเนื้อน่อง ลดการปวดขา ปวดน่อง ปวดข้อเท้า  ตะคริวที่น่อง อันเนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น ใส่รองเท้าส้นสูงเดินทั้งวัน การออกกำลังกายผิดท่า เป็นต้น ท่านไม่ต้องทนอีกต่อไปแล้ว
อุปกรณ์ยืดกล้ามเนื้อน่อง ออกแบบมากะทัดรัด มีน้ำหนักเบา ผิวด้านบนหุ้มด้วยโฟมยาง ทำให้นุ่มสบายเท้า สามารถนำไปตั้งในบริเวณที่ทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันบ่อยได้ เช่น ใช้เท้าเหยียบ box ขณะกำลังแปรงฟัน เป็นต้น การใช้ Calf stretching Box ทำได้ง่ายๆ เพียงพาดฝ่าเท้าลงบน box ทางด้านโค้งโดยให้ขอบของ Calf stretching Box อยู่ประมาณฝ่าเท้า เหยียดเข่าตึง แล้วโน้มตัวมาข้างหน้าจนรู้สึกตึงที่กล้ามเนื้อน่อง ทำค้างไว้ประมาณ 30 วินาที 2 นาที ขึ้นกับระดับความตึงของกล้ามเนื้อน่อง   อุปกรณ์นี้สามารถใช้ได้ในคนทุกเพศทุกวัย แต่ปัจจุบันผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ใช้ Calf stretching Box จะมีอายุ 40 ปีขึ้นไป เนื่องจากในคนกลุ่มนี้ เมื่อมีการออกกำลังกายหรือบริหารร่างกายด้วยตนเองในท่าทางอื่นๆ อาจทำให้มีอาการปวดเข่าหรือปวดหลัง ซึ่งการใช้ Calf stretching Box นอกจากจะช่วยยืดกล้ามเนื้อน่องแล้ว ยังจะช่วยลดอาการปวดเข่าหรือปวดหลังที่เกิดจากการบริหารร่างกายด้วยวิธีอื่นๆ
          ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล มีความประสงค์จะจัดทำและจำหน่อยอุปกรณ์ยืดกล้ามเนื้อน่อง 
(Calf Stretching Box) ให้แก่ผู้ป่วยที่มีปัญหากล้ามเนื้อน่องตึงนี้ไปสู่การเกิดกล้ามเนื้อน่องตึง ซึ่งปัญหากล้ามเนื้อน่องตึงนี้นำไปสู่การเกิด
กล้ามเนื้อน่องบาดเจ็บ เอ็นร้อยหวายอักเสบ และโรครองซ้ำได้ อีกทั้งผู้ป่วยโรคดังกล่าว แพทย์มีแนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังเนื้อยึดกล้ามเนื้อ
น่องเป็นประจำ เพื่อเป็นการรักษาการใช้อุปกรณ์ยึดกล้ามเนื้อน่องที่ทางคลินิกสุขภาพเท้า
 อุปกรณ์นี้สามารถเพิ่มการออกกำลังกาย 
(
compliance)  ในการยึดกล้ามเนื้อในผู้ป่วยและลดอาการแทรกซ้อนจากการยึดกล้ามเนื้อน่องแบบเดิมได้
         




บทที่ 3
วัสดุ – อุปกรณ์ในการดำเนินงาน

วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
   วัสดุอุปกรณ์
1.สว่าน
2.ค้อน
3.เศษไม้
4.เลื่อยตัดไม้
5.ตะปู,ตะปูเกลียว
6.ไรเดอร์เจียหิน
7.ไขขวง
8.ดินสอ
9.ตลับเมตร





บทที่ 4
ผลการทดลอง
           การจัดทำโครงงานเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่องนี้ขึ้นมาเพื่อมีวัตถุประสงค์ของโครงงาน
ดังนี้
          1.เพื่อศึกษาวิธีการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง
          2.เพื่อฝึกความสามารถด้านงานฝีมือ
         3.เพื่อฝึกการทำโครงงานเดี่ยว
          ตลอดจนผู้จัดทำสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาขั้นตอนการทำเครื่องยือกล้ามเนื้อน่อง เพื่อนำเสนอให้ทุกคนได้รับรู้ถึงเรื่องราวที่ผุ้จัดทำได้นำเสนข้อมูลอผ่าน Blog Sport  ไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน
           ทั้งนี้   ทางผู้จัดทำหวังว่าคงจะได้รับความร่วมมืออย่างดีในการรับฟังข้อมูลจากทางอาจารย์ และ เพื่อนๆทุกคนในชั้นเรียน ทำให้การนำเสนอในครั้งได้รับความสนใจ  โดยทางเพื่อนๆทุกคนในชั้นเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้  โดยการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในโครงงานที่ทางผู้จัดทำได้นำเสนอไป





บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผล

วัตถุประสงค์ของโครงงานนี้คือ
          1.เพื่อศึกษาวิธีการและขั้นตอนการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง
          2.เพื่อฝึกความสามารถด้านงานฝีมือ
         3.เพื่อฝึกการทำโครงงานเดี่ยว
และสามารถสรุปผลการทำโครงงานเรื่องเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่อง ดังนี้
         1.ศึกษาวิธีการและขั้นตอนการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อน่องได้เป็นอย่างดี และเข้าใจถึงวิธีการทำ
         2.เพื่อฝึกความสามารถด้านงานฝีมือ และเป็นการพัฒนาฝีมือตนเองในด้านการประดิษฐ์


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงานนี้
       1.ได้เครื่องยืดกล้ามเนื้อน่องมาใช้ที่บ้าน
       2.ได้ทราบถึงวิธีขั้นตอนการทำเครื่องยืดกล้ามเนื้อเป็นอย่างดี
ข้อเสนอแนะ
       1.ผู้จัดทำอาจจะต้องศึกษาวิธีขั้นตอนการทำที่แปลกใหม่พกพาสะดวก  มาศึกษาต่อเพื่อเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ
1.สว่าน
2.ค้อน
3.เศษไม้
4.เลื่อยตัดไม้
5.ตะปู,ตะปูเกลียว
6.ไรเดอร์เจียหิน
7.ไขขวง
8.ดินสอ
9.ตลับเมตร

ขั้นตอนการทำ
1.นำของที่เตรียมไว้มารวมกันแล้วเช็คความเรียบร้อย
2.
  นำไม้ขนาดเท่ากัน3 ท่อนมาวางเรียงกันให้ได้ดังรูป
3.
   นำไม้ขนาดพอดีมาติดไว้ที่ปลายทั้งสองด้านของไม้
4.
   นำบานพับติดไว้ที่ปลายด้านในของไม้ด้านใดด้านหนึ่ง
5.
   นำไม้สองท่อนขนาดไม่ใหญ่มากมาตอกเข้ากับไม้อีกอันหนึ่ง
6.
   นำไม้สองอันมาติดกันโดยใช้บานพับประตูยึดไว้
7.
   นำไม้2แผ่นนี้ไปติดกับบานพับติดไว้ที่ปลายด้านในของไม้แผ่นหนึ่ง
8.
   นำไม้มาทำเป็นที่ดันส้นไว้ที่ปลายด้านที่เป็นจุดหมุน
9.
ภาพอุปกรณ์ยืดกล้ามเนื้อน่องที่สมบูรณ์